กฏหมายของไทยที่ส่งเสริมสิทธิสตรี และ ขจัดการเลือกปฏิบัติ



บรรยายโดย นางพัชรี อาระยะกุล ผู้อำนวยการกองส่งเสิรมความเสมอภาคระหว่างเพศ

ให้สิทธิกับสตรีในการดำเนินการธุรกรรมต่างๆได้สะดวกขึ้น
พระราชบัญญํติคำนำหน้านามหญิง พ.ศ. ๒๕๕๑ คลิ๊ก 
พระราชบัญญัติชื่อบุคคล (ฉบับที่ ๓ ) พ.ศ. ๒๕๔๘ คลิ๊ก


สิทธิในการได้รับการทุเลาการบังคับโทษจำคุกของสตรีมีครรภ์หรือมีบุตรในวัยเยาว์
พรบ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฏหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ๒๕ ) พ.ศ.๒๕๕๐ คลิ๊ก



สิทธิชายหรือหญิงคู่หมั้นในการเรียกค่าทดแทน
สิทธิในการฟ้องหย่า
พรบ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฏหมายแพ่งและพาณิชย์ ( ฉบับที่ ๑๖ ) พ.ศ.๒๕๕๐ คลิ๊ก

สิทธิในการลาเลี้ยงดูบุตร ชายและหญิง
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ.๒๕๕๕ คลิ๊ก



การรับรองสิทธิในการสมรสของบุคคลเพศเดียวกัน
ร่างพระราชบัญญัติการจดทะเบียนคู่สมรส คลิ๊ก


สิทธิในการได้รับความคุ้มครองจากการถูกกระทำความรุนแรงในครอบครัว
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 คลิ๊ก
ผู้ถูกกระทำหรือผู้ที่พบเห็นการกระทำ
-แจ้งด้วยคำพูด
-ยื่นเป็นหนังสือ
-โทรศัพท์
-แจ้งโดยสื่ออิเล็กทรอนิกส์
-วิธีการอื่น ๆ



สิทธิสำหรับผู้ถูกกระทำชำเรา
พรบ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฏหมายอาญา ( ฉบับที่ ๑๙ และ ๒๐ ) พ.ศ. ๒๕๕๐ คลิ๊ก



สิทธิในการได้รับการคุ้มครองจากการค้ามนุษย์
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ คลิ๊ก
-การค้ามนุษย์เป็นความผิด
-เพิ่มบทลงโทษสำหรับผู้มีส่วนร่วมกับการค้ามนุษย์
-การให้ความช่วยเหลือและคุ้มครองสวัสดิภาพผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์
-กองทุนเพื่อป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษญ์




สิทธิในการได้รับความคุ้มครองจากการทำงาน
พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ( ฉบับที่ ๒ ) ๒๕๕๑ คลิ๊ก
-การได้รับค่าตอบแทน
-การคุ้มครองจากการถูกล่วงเกิน คุกความ หรือก่อความเดือดร้อนรำคาญทางเพศ
-การกำหนดงานที่ห้ามลูกจ้างหญิงปฏิบัติ
-การกำหนดงานที่ห้ามลูกจ้างหญิงมีครรภ์ปฏิบัติ


สิทธิในการได้รับการคุ้มครองจากการล่วงละเมิดทางเพศของข้าราชการพลเรือน
กฏ ก.พ. ว่าด้วยการกระทำอันเป็นการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศ ภายใต้พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑  คลิ๊ก


พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ.๒๕๕๘ คลิ๊ก
-เปิดโอกาสให้ทุกคนอย่างเสมอภาค ไม่ว่าบุคคลนั้นเป็นหญิง ชาย หรือผู้มีความหลากหลายทางเพศ
-เป็นกฏหมายทางเลือก ซึ่งเป็นการให้ใช้สิทธิการไม่ใช้สิทธิไม่มีบทลงโทษ
-มีกองทุนส่งเสริมความเท่าเทียมระหว่างเพศเป็นทุนสำหรับใช้จ่ายในการส่งเสริมความเท่าเทียมระหว่างเพศเพื่อช่วยเหลือสงเคราะห์ หรือบรรเทาทุกข์ผู้ประสบปัญหา


****ข้อมูลจากการประชุมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างความรู้ด้านความเสมอภาคระหว่างเพศ ครั้งที่ ๑
ระหว่างวันที่ ๓-๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ณ โรงแรมคุ้มภูคำ จังหวัดเชียงใหม่ ****





ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

"ทางไปสู่เกียรติศักดิ์ จักประดับดอกไม้ หอมยวลชวนจิตไซร้ ไป่มี"

ความในใจของลูกผู้ชายคนนึง

"OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม" คุณเองก็ช่วยเหลือสังคมได้ เพื่อสังคมที่ดีของเรา